ปีที่39 (vol39)
ปีที่ 39 ฉบับที่1 (vol.39 no1)ประกอบด้วยบทความทางวิชาการดังนี้การปรับบทบาทสู่การเป็นผู้ค้าเมล็ดพันธุ์ของเกษตรกรความท้าทายในการเรียนรู้และทำความเข้าใจกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ผลของสารเคลือบว่านหางจระเข้ต่อความงอก ความแข็งแรง และการเจริญเติบโตของต้นกล้าข้าวโพดหวาน การประยุกต์ใช้ชานอ้อย ฟางข้าว และไมยราบยักษ์เป็นวัสดุเพาะเห็ดนางรมเทา ผลของการจัดการปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับการใช้สารปรับปรุงดินต่อลักษณะการเจริญเติบโต ผลผลิต และคุณภาพของสับปะรด องค์ประกอบทางเคมีในเมล็ดข้าวกล้องพันธุ์ต่าง ๆ จากการปลูกในระบบอินทรีย์ของจังหวัดนครราชสีมา ผลของการใช้ไคโตซานที่สกัดด้วยเคมีจากเปลือกกุ้งเสริมในอาหารต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโตและค่าโลหิตวิทยาในสุกรระยะเจริญเติบโต (น้ำหนักตัว 10-60 กก.) ผลของการเสริมกรดแอสคอร์บิคในน้ำยาเจือจางต่อคุณภาพน้ำเชื้อที่ระยะเวลาในการเก็บรักษาต่าง ๆ การศึกษาการเจริญเติบโตในการผสมข้ามพันธุ์ของปลาลูกผสมบึกสยาม ปลาเทโพ และปลาเทพา การส่งเสริมและพัฒนาการเพาะเลี้ยงปลากัด: กรณีศึกษากลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงปลากัด ตำบลบางม่วง อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ การยอมรับระบบการผลิตข้าวอินทรีย์ของเกษตรกรรายย่อยในจังหวัดมหาสารคาม การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานของเงาะโรงเรียนนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี: กรณีศึกษาสหกรณ์การเกษตรบ้านนาสาร จำกัด การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนสัตว์น้ำเศรษฐกิจของชุมชนประมงชายฝั่ง จังหวัดตรัง การพยากรณ์ราคาหัวมันสำปะหลังสดด้วยวิธีบ็อกซ์-เจนกินส์ Download files ในรูปแบบ PDF files update 30/April/2022 |
ปีที่ 39 ฉบับที่3 (vol.39 no3)ประกอบด้วยบทความทางวิชาการดังนี้การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมดีเด่นที่เหมาะสมกับพื้นที่ปลูกหลังการทำนาสำหรับเป็นพันธุ์แนะนำในจังหวัดภาคเหนือตอนบน ผลของสารละลายธาตุอาหารและน้ำหมักชีวภาพนมต่อการเจริญเติบโตของผักกาดหอมพันธุ์เรดบัตเตอร์เฮดที่ปลูกในระบบไฮโดรพอนิกส์ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเหมาะสมของพื้นที่ปลูกส้มโอในพื้นที่อำเภอบ้านแท่น จังหวัดชัยภูมิ ความรู้และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มโคนมของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม อำเภอสันกำแพง และอำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ รูปแบบการเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์กบเพื่อป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรียในอวัยวะภายใน การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตรของเกษตรกร ในเขตเทศบาลตำบลแม่แฝก อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ การพัฒนารูปแบบการจัดการการผลิตและการตลาดกระเทียม ของเกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันปัจจัยที่มีผลต่อการลดต้นทุนการปลูกข้าวไรซ์เบอร์รี่ ของเกษตรกรในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การวิเคราะห์โซ่คุณค่าและสัดส่วนผลกำไรของผลิตภัณฑ์กาแฟอะราบิกาพรีเมี่ยมของไทยในตลาดประเทศญี่ปุ่น การพยากรณ์มูลค่าการส่งออกพริกไทย การจัดการน้ำสำหรับการเกษตรในภาวะภัยแล้งของเกษตรกรผู้ใช้น้ำโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่แฝก-แม่งัด อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ Download files ในรูปแบบ PDF files update 29/December/2022 |
ปีที่ 39 ฉบับที่2 (vol.39 no2)ประกอบด้วยบทความทางวิชาการดังนี้ระยะการเจริญเติบโตที่เหมาะสมในการเก็บเกี่ยวใบชุมเห็ดเทศให้ได้สารอนุพันธ์ไฮดรอกซีแอนทราซีนปริมาณสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และสัมประสิทธิ์เส้นทางในข้าวไร่กลายพันธุ์ชั่วที่ 3 ผลของการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับธาตุอาหารพืชต่อความงอกและการเจริญเติบโตของต้นกล้าถั่วพร้า ศักยภาพของธาตุสังกะสีและโบรอนต่อการลดอาการผิดปกติของเปลือกลำไย คุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระและชีวเคมีของโปรตีนไฮโดรไลเซทจากกากเมล็ดดาวอินคา ผลของรูปแบบการปลูกยางพาราต่อตัวชี้บอกคุณภาพดินด้านการเก็บกักน้ำของดินร่วนเนื้อหยาบ ผลการทดแทนปลาป่นด้วยผลพลอยได้จากกระบวนการแล่เนื้อปลาในอาหารต่อการเจริญเติบโตของปลาลูกผสมบึกสยามแม่โจ้ การทดลองเปรียบเทียบประสิทธิภาพของฟอร์มาลิน จุนสี กรดน้ำส้มสายชู ด่างทับทิม และไตรคลอร์ฟอน (Dipterex®) ในการกำจัดเห็บระฆังที่พบในลูกปลานิล (Oreochromis niloticus) ความชุกของการติดเชื้อ Ehrlichia canis, Hepatozoon canis, Babesia canis Anaplasma platys และ Trypanosoma evansi ในสุนัขในจังหวัดเชียงใหม่ การดำรงชีพของครัวเรือนเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปัจจัยด้านทุนมนุษย์ที่มีผลต่อรายได้และผลิตภาพแรงงานของเกษตรกรผู้ปลูกยางพารากรณีศึกษาจังหวัดสุราษฎร์ธานี รูปแบบการบริหารต้นทุนการผลิตลำไยคุณภาพเพื่อความอย่างยั่งยืนของกลุ่มเกษตรกรลำไยคุณภาพ: กรณีศึกษา บ้านเหล่า ตำบลป่าไหน่ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจัยที่กำหนดความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจจำหน่ายปัจจัยการผลิตทางการเกษตรขนาดกลางและขนาดย่อม ในจังหวัดอุดรธานี องค์ประกอบมาตรฐานสินค้าเกษตรที่มีผลต่อความต้องการส่งเสริมการผลิตสับปะรดเพื่อการส่งออกของเกษตรกรในเขตภาคเหนือของประเทศไทย การศึกษาและพัฒนาตัวชี้วัดทักษะชีวิตและความสุขในการดำเนินชีวิตของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่ Download files ในรูปแบบ PDF files update 31/August/2022 |